จากผลงานหนังไทยดังๆ หลายเรื่องหลายปีที่ผ่านมา เชื่อมั่นได้เลยว่า ศักยภาพฝีมือของคนทำหนังไทย ดาราไทย ยังโกยเงินโกอินเตอร์ พุ่งไปต่อในระดับโลกได้สบายๆ อยู่แล้ว ถึงแม้จะไม่ค่อยมีการส่งเสริมจากภาครัฐ อย่างจริงจังต่อเนื่อง อย่างที่ควรจะเป็นนัก แต่ถ้ารัฐบาลไทยตระหนักรู้ มีวิสัยทัศน์มากพอ เลือกคนที่เก่งจริงด้านหนัง ให้มาดูแลบริหารจัดการ มีแผนการดันอย่างเป็นระบบ ทุ่มเงินได้ตรงจุด รีบส่งเสริมหนังไทยอย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้นๆ จะเป็นอีกแรงช่วย ที่จะทำให้หนังไทยเด่นดังได้ต่อเนื่องในตลาดหนังโลก ต่อยอดสร้างมูลค่าเพิ่มได้มหาศาล ทั้งทางตรงและทางอ้อมด้วย. นี่เป็นเพียงตัวอย่างเนื้อหาของภาพยนตร์ที่ถูกเซ็นเซอร์ และห้ามฉายตลอดทศวรรษที่ผ่านมา เห็นได้ว่าหากภาพยนตร์เรื่องไหนมีประเด็นที่แตะต้องความมั่นคง และสถาบันหลักของชาติ ก็มีอันต้องหวาดเสียวไปตามๆ กัน … อย่างไรก็ตาม เป็นที่น่าคิดว่าในอนาคตโดยเฉพาะในสังคมปัจจุบันที่ผู้คนต่างกล้าออกมาตั้งคำถามมากขึ้น หากเกิดการขับเคลื่อนในเรื่องของการเลิกเซ็นเซอร์จริง เราอาจจะได้เห็นภาพยนตร์ที่กล้าพอจะสื่อสารประเด็นต่างๆ ออกมามากมาย และคงจะหนักหน่วงมากกว่าที่ยกตัวอย่างมาข้างต้นแน่นอน ซึ่งก็วกกลับมาที่คำถามข้างต้นว่า ‘เป็นไปได้แค่ไหน กับการเลิกเซนเซอร์ในประเทศไทย’ และผู้ออกนโยบายจริงจังแค่ไหนกับการขับเคลื่อนวงการหนังไทย. ส่วนการขายหนังให้สตรีมมิ่งอีกแบบ ที่คนวงการหนังเวลานี้ใช้กัน คือ การทำไปก่อน ขายทีหลัง ซึ่งอันนี้หากเอาหนังฉายโรงภาพยนตร์แล้ว จะเอามาขายให้สตรีมมิ่ง เขาก็จะซื้อในราคาไม่แพงมาก เท่าที่ได้ยินมาของ Netflix ก็น่าจะประมาณเรื่องละ 1 ล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งราคานี้ก็ไม่ชัวร์ คงขึ้นอยู่กับหนัง ถามว่าคุ้มไหมแบบนี้ ก็คงไม่คุ้ม แต่ดีกว่าปล่อยไว้เฉยๆ แล้วไม่ได้อะไร… Covid-19 ส่งผลกระทบวงกว้างในทุกสาขาอาชีพอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ วงการภาพยนตร์ก็เจอปัญหาเรื่องโลเคชั่นกองถ่าย ซึ่งประเทศไทยก็เป็นอีกหนึ่งโลเคชั่นที่กองถ่ายฮอลลีวูดเลือกใช้ แต่มีอีกสิ่งที่ทำให้ไทยเสียโอกาสการเป็นสถานที่สำหรับถ่ายทำภาพยนตร์มากกว่าการระบาดของไวรัส…
ผมว่า “หนังผีนักการเมืองไทย” ก็น่าสนใจนะครับ สร้างเป็นซีรีส์ยาวฉายใน Netflix ไปเลย โดยผูกโยงเรื่องการทุจริตคอร์รัปชันในวงการเมืองไทย ฉายเมื่อไหร่รับรองว่าดังสนั่นโลกแน่นอน ไม่มีการทุจริตที่ไหนในโลกจะง่ายดายและคลาสสิกเท่าเมืองไทยอีกแล้ว. ตอนนี้ค่ายหนังหลายๆ ค่าย เริ่มหันมาจับมือบริษัทสตรีมมิ่ง อย่าง Netflix WeTV เนื่องจากต้องเอาตัวรอดในสถานการณ์แบบนี้ โดยทำหนังเพื่อฉายใน 2 ช่องทาง คือ ฉายโรงหนังปกติ และสตรีมมิ่ง เพราะหากว่าทำเผยแพร่ทางเดียว บริษัทอาจจะไม่รอด..
ปัจจุบัน แอมป์ พิธาน นั่งตำแหน่งรองกรรมการผู้จัดการ บมจ.เคซีอี อีเล็กทรอนิคส์ จำกัด (มหาชน) ผู้ผลิตและส่งออกแผ่นพิมพ์วงจรอิเล็กทรอนิกส์รายใหญ่ภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อีกทั้งเป็นประธานกรรมการ THE FACESHOP (ประเทศไทย) และทำธุรกิจเกี่ยวกับอาหารฟาสต์ฟู้ดด้วย. นอกจากนี้ครอบครัวยังเผยว่า “โดยไม่คำนึงถึงความพิการในภายหลัง เคนค้นพบการเรียกร้องที่สูงกว่าในการเป็นตัวของตัวเองอย่างเต็มที่เพื่อลูกๆ ของเขา เป็นเวลา 5 ปีครึ่งที่เคนต้องเผชิญกับความท้าทายอันเลวร้ายจาก ALS และตามแบบฉบับของเคนอย่างแท้จริง เขาสามารถก้าวขึ้นมาเหนือแต่ละคนด้วยความสง่างามและความมุ่งมั่นในการใช้ชีวิตอย่างเต็มที่ และมีความสุขในแต่ละช่วงเวลา”. การจากไปอย่างกะทันหันของเกรียงศักดิ์ เป็นความสูญเสียครั้งใหญ่ หอภาพยนตร์ขอแสดงความเสียใจต่อครอบครัวศิลากอง และขอร่วมไว้อาลัยให้บุคคลผู้มีคุณูปการต่อวงการภาพยนตร์ในประเทศไทยผู้นี้.. อย่างที่ทราบว่า ผู้เขียนรายงานความเคลื่อนไหว gentle powerภาพยนตร์ไทย มาอย่างต่อเนื่อง เพียรหวังว่าจะเกิดเวที เทศกาลภาพยนตร์ อย่างต่อเนื่อง ในทั่วภูมิภาคของประเทศ เพื่อสร้างพลังสนับสนุนให้เกิดคอนเทนต์อันสร้างสรรค์เกี่ยวเนื่องภาพยนตร์ไทย เกิดการพัฒนาเติบโตเป็น “อุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์” เสริมฐานรากเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวของประเทศให้ยั่งยืน. อย่างไรก็ตาม เบื้องแรกเหมือนนโบายสร้างฝันแก่คนในวงการภาพยนตร์ก็ตามที แต่ถ้า “ลงมือทำ” ทุกฝ่าย เช่นตัวอย่างเกาหลีใต้มีให้ศึกษา ซึ่งไม่มากก็น้อย น่าจะมาถูกทาง น่าได้มากกว่าเสียแน่นอน. “สิ่งที่รัฐบาลควรทำคือ ควบคุมคนของตัวเองให้ได้ อย่าปล่อยให้คนชั่วเห็นแก่เศษเงิน ทำให้คนในชาติได้รับภัยพิบัติขนาดนี้ ผมพูดตรงนี้ไม่ได้มีอคติกับภาครัฐ เพราะที่ผ่านมาก็ทำงานกับรัฐบาลมาตลอด ประชาชนไม่ได้การ์ดตก แต่รัฐบาลกลับการ์ดตกเสียเอง”.